กฏหมายบัญชีที่เกี่ยวข้อง

กฎหมายบัญชีที่เกี่ยวข้องกับกรมพัฒฯ                              

                    พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543  

                    พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547

กฎหมายบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสภาวิชาชีพ                           

                    จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี 

                    มาตราฐานการรายงานทางการเงิน

                    มาตราฐานการสอบบัญชี

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

                   ประมวลรัษฎากร กรมสรรพากร

อ้างอิงข้อมูล

https://www.rd.go.th/674.html

บริการทำบัญชี

ต้องทำสัญญาบริการ(ตามที่กรมพัฒฯแนะนำ 01/12/65

ทำไมต้องทำบัญชี

  •              “ทำบัญชี” สำคัญอย่างไรกับท่านที่ทำธุรกิจ เมื่อหลายปีที่ผ่านมาจะเห็นว่าเจ้าของธุรกิจส่วนใหญ่คิดว่าไม่สำคัญ เข้าใจอย่างเดียวคือการทำบัญชีเพื่อส่งสรรพากร และ ส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ปัจจุบันนี้มันเปลี่ยนไปแล้ว ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องทำบัญชีอย่างไรให้ ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ สามารถบ่งชี้ถึงผลประกอบการของกิจการได้อย่างชัดเจน ว่ากิจการมีกำไร หรือขาดทุน ไม่เว้นแม่แต่ระดับครัวเรือนที่ควรทำบัญชีตามแนวคิดของ ปรัชญาเศษฐกิจพอเพียง
  •             ในเเง่ของธุรกิจการทำบัญชีที่ถูกต้องตามมาตราฐานการบัญชี นอกจากจะถูกกฎหมายแล้วยังรวมถึงการสะท้อนให้เห็นถึงผลประกอบการของท่านว่าควรจะควบคุมการทำงานอย่างไรให้กิจการประหยัดต้นทุน และใช้จ่ายอย่างประหยัดมีประสิทธิภาพส่งผลให้ธุรกิจมีกำไร นำไปสู่การวางแผนธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
  •             ดังนั้นคนที่จะมาดูแลงานด้านบัญชีให้ท่านก็มีความสำคัญไม่น้อย ที่แน่ๆคือต้องมีความรู้ และมีประสบการณ์ในงานวิชาชีพ เราพร้อมมีทีมงานที่จะดูแลบัญชีให้ทุกท่านโปรดไว้วางใจให้เราได้ดูแลงานบัญชีของท่าน

Why you must do Bookkeeping !

  •             Bookkeeping ! How is important toward your business. Many years in the pass you can see that the most owner thought that is not significant.Thari understanding that it must have Bookeeping for Revenue Department and Department of Business Development , Now , It’s change ! Everone aware of significant that how to do bookkeeping in correctly.It can indicate and show up the profit and loss in clearly.Although will be household economy but still must have to do bookkeeping in guideline of philosophy of sufficient economoy.
  •             In the sense of business need to bookkeeping which must be belong to Thai Financial Reporting Standards (TFRS). Besides it must be subject to the Law that will reflect a reflect a result of the performance of business that how to contro the cost in advatage and low cost.So that the efficient in expenses will be affect a business in peofit that will lead into business planning keep on in a long term.
  •             Terefore, a pepole who can take care of accounting jop for you is very important. Certainly , should have the knowledge and experiencein career field. Now We Ready! We have the accounting team to support.
  •             Trust us take care bookkeeping for your business.

                   หลักในการจัดทำบัญชี

ผู้มีหน้าจัดทำบัญชี ตามพระราชบัญญัติการบัญชี2543

  • มาตรา8(ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะ ห้างหุ้นส่วนจำกัด และ บริษัทจำกัด)
  • “ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี” ตามพรบ.การบัญชี2543 หมายความว่า ผู้มีหน้าที่จัดให้มีการทำบัญชีตามพระราชบัญญัตินี้
  • “ผู้ทำบัญชี” ตามพรบ.การบัญชี2543 หมายความว่า ผู้รับผิดชอบในการทำบัญชีของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีไม่ว่าจะได้รับกระทำในฐานะ
  •                      เป็นลูกจ้างของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหรือไม่ก็ตาม

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี/ประเภทธุรกิจ

1.ห้างหุ้นส่วนจำกัด (ป.พ.พ)

2.บริษัทจำกัด (ป.พ.พ.)

ผู้รับผิดชอบ

หุ้นส่วนผู้จัดการ

กรรมการ

วันปิดบัญชี (รอบปีบัญชี)

ปิดบัญชีครั้งแรกภายใน 12 เดือน นับแต่วันเริ่มทำบัญชี และปิดบัญชีทุกรอบ 12 เดือนนับแต่วันปิดบัญชีครั้งก่อน

เว้นแต่ (1) เมื่อได้รับอนุญาตจากสารวัตรใหญ่บัญชีให้เปลี่ยนรอบบัญชีแล้วอาจปิดบัญชีก่อนครบรอบ 12 เดือนได้

เว้นแต่ (2) ในกรณีมีหน้าที่จัดทำบัญชีของสาขาให้ปิดบัญชีพร้อมกับสำนักงานใหญ่

  หน้าที่และความรับผิดชอบของ “ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี”

  •   ชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ และระยะเวลาที่ต้องลงรายการในบัญชี                                                        << อ้างอิงข้อมูล >>
  •  
  •                                                                                                                                    https://www.dbd.go.th/download/PDF_law/acc_list2544.pdf

  เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี                                                                   ข้อควรระวัง

  การเก็บรักษาบัญชีและเอกสาร

    •                             การจัดเก็บเอกสารประกอบการลงบัญชีในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
    •                              ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 มาตรา14 กำหนดให้ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีต้องเก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบ
    •                              การลงบัญชีไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันปิดบัญชีหรือจนกว่าจะมีการส่งมอบบัญชีและเอกสารตามมาตรา ๑๗
    •                             กรณีที่นำเอกสารประกอบการลงบัญชีในรูปแบบกระดาษมาเก็บรักษาในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ การแปลงเอกสารหรือข้อความต่างๆ
    •                             ให้อยู่ในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องพิจารณา ดำเนินการตามกฎหมาย ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และควรจัดให้มีการ
    •                             ควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องอย่างพอเพียงและเหมาะสม แต่อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ยังต้องจัดเก็บต้นฉบับเอกสารที่ต้องใช้ประกอบ
    •                          การลงบัญชีไว้ในรูปของกระดาษตามระยะเวลาที่กำหนดตามมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.๒๕๔๓ อยู่

                      หมวด5

                      บทกำหนดโทษภายใต้ พ.ร.บ.2543

                                                                                     เรื่องที่ฝ่าฝืน                                                                                                   โทษ (ปรับรายหัวข้อ)

  • .ไม่ดำเนินการตามประกาศกรมในเรื่องของบัญชีที่ต้องจัดทำ ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชีระยะเวลาที่ต้องลงรายการในบัญชี เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี
  • .ฝ่าฝืนประกาศที่ออกตามมาตรา7(ผู้ทำบัญชี:คุณสมบัติและเงื่อนไข)
  • ไม่เกิน 10,000 บาท
  • และ ปรับรายวันไม่เกินวันละ 500 บาท
  • จนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง
  • ไม่จัดให้มีการทำบัญชีตามมาตรา 8 หรือตั้งแต่วันเริ่มทำบัญชี (มาตรา9)
  •                     (พ.ร.บ.2543 หมวด2 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
  • ปรับไม่เกิน 30,000 บาท
  • และ ปรับรายวันไม่เกินวันละ 1,000 บาท จนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง
  • .ไม่ปิดบัญชีครั้งแรกภายใน 12 เดือน หรือ ทุกรอบ 12 เดือน (มาตรา10)
  • .ไม่ส่งมอบเอกสารประกอบการลงบัญชีให้ผู้ทำบัญชีให้ถูกต้องครบถ้วน
  • .ไม่จัดให้มีผู้ทำบัญชีที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด
  • ปรับไม่เกิน 10,000 บาท

.ไม่ยื่นงบการเงินภายในเวลาที่กำหนด

  • ปรับไม่เกิน 50,000 บาท
  • .ไม่จัดงบรายเงินตามรายการย่อ
  • .ไม่เก็บรักษาบัญชีและเอกสาร ณ สถานที่ทำการ/ที่ทำงานประจำ เก็บไว้ไม่ถึง 5 ปี
  • .ไม่แจ้งเอกสารสูญหาย เสียหาย ภายใน 15 วันนับจากทราบ/ควรทราบ
  • ปรับไม่เกิน 50,000 บาท

.ไม่จัดให้งบการเงินได้รับการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

  • ปรับไม่เกิน 20,000 บาท
  • .แจ้งข้อความเป็นเท็จต่อสารวัตรใหญ่บัญชี หรือ สารวัตรใหญ่บัญชีว่าบัญชีหรือเอกสารที่ต้องใช้
  • ประกอบการลงบัญชีสูญหายหรือเสียหาย
  • ต้องระวังจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับ
  • ไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
  • ไม่จัดทำบัญชีตามความเป็นจริงและตามมาตราฐานการบัญชี
  • ปรับไม่เกิน 10,000 บาท
  • .ไม่ลงรายการบัญชีเป็นภาษาไทย ไม่มีคู่มือแปลรหัส
  • ปรับไม่เกิน 5,000 บาท
  • .ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของสารวัตรใหญ่บัญชี หรือ สารวัตรบัญชี ซึ่งปฏิบัติการตามมาตรา 22
  • จำคุกไม่เกิน 1ปี หรือปรับ
  • ไม่เกิน 20,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
  • .ไม่อำนวยความสะดวกแก่สารวัตรใหญ่บัญชี หรือ สารวัตรบัญชี ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 22
  • หรือฝ่าฝืนคำสั่งของสารวัตรใหญ่บัญชี หรือ สารวัตรบัญชี วึ่งสั่งการตามมาตรา 24
  • จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับ
  • ไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

                                         <<< รายละเอียด อ้างอิง คลิ๊ก >>>       https://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=1078

บริการตรวจสอบบัญชี

    • “ผู้สอบบัญชี” หมายความว่า ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ข้อบังคับสภาวิชาชีพ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
    •  ฉบับที่3 พ.ศ.2563              <<< รายละเอียด อ้างอิง คลิ๊ก >>>             https://www.tfac.or.th/upload/9414/0fCOM8tdq
    •  8.PDF
    •  
    • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ส่วนที่3 วิธีจัดการบริษัทจำกัด
    • 4.บัญชีงบดุล
    • มาตรา 1196 อันบัญชีงบดุลนั้น ท่านว่าต้องทำอย่างน้อยครั้งหนึ่งทุกรอบสิบสองเดือน ต่อเมื่อเวลาสุดรอบสิบสองเดือน
    • อันจัดว่าเป็นขวบปีในทางบัญชีของบริษัทนั้น
    • อนึ่งงบดุลนั้นต้องมีรายการย่อแสดงจำนวนสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทกับทั้งกำไรและขาดทุน
    • มาตรา 1197 งบดุลนั้นต้องจัดให้มีผู้สอบบัญชีคนหนึ่งหรือหลายคนตรวจสอบแล้วนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่
    • ภายในสี่เดือนนับแต่วันที่ลงในงบดุลนั้น
    • อนึ่งให้ส่งสำเนางบดุลไปยังบุคคลทุกคนบรรดาที่มีชื่อในทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัทแต่ก่อนวันนัดประชุมใหญ่ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวัน
    • นอกจากนั้นให้มีสำเนางบดุลเปิดเผยไว้ในสำนักงานของบริษัทในระหว่างเวลาเช่นว่านั้นเพื่อ ให้ผู้ทรงใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือนั้นตรวจดูได้ด้วย
    • มาตรา 1198 ในเมื่อเสนองบดุล กรรมการต้องเสนอรายงานต่อที่ประชุมใหญ่ แสดงว่าภายในรอบปีซึ่งพิจารณากันอยู่นั้นการงานของบริษัทได้จัดทำไปเป็นประการใด
    •  
    • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ส่วนที่4 การสอบบัญชี
    • มาตรา 1214 ผู้สอบบัญชีต้องทำรายงานว่าด้วยงบดุลและบัญชียื่นต่อที่ประชุมสามัญ
    • ผู้สอบบัญชีต้องแถลงในรายการงานเช่นนั้นด้วยว่าตนเห็นว่างบดุลได้ทำถูกต้องควรฟังว่าสำแดง ให้เห็นการงานของบริษัทที่เป็นอยู่ตามจริงและถูกต้องหรือไม่
    •  
    • คำชี้แจงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554ในที่นี้ขอยกมาเฉพาะ กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)
    •                                            <<< รายละเอียด อ้างอิง คลิ๊ก >>>             https://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=951
    •  
    • การจัดทำงบการเงิน
    • ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีที่ต้องจัดทำงบการเงินตามประกาศฉบับนี้ ได้แก่
    • 1.รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (แบบ1)
    • 2.รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของบริษัทจำกัด (แบบ2)
 

หลักการจัดทำงบการเงิน

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีแต่ละประเภทต้องจัดทำงบการเงินดังนี้           <<< รายละเอียด อ้างอิง คลิ๊ก >>>       https://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=1099