จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจำกัด จดทะเบียนบริษัท(Company Registration Service)
ในการทำธุรกิจไม่ใช่เรื่องง่าย ดังนั้นทุกขั้นตอนที่จะทำก็ต้องเริ่มต้นด้วยความมั่นใจ และมีความมั่นคง ก็ไม่พ้นต้องเริ่มศึกษาหาข้อมูลที่จำเป็นก่อนในบางเรื่อง เน้นว่าในบางเรื่อง เพราะท่านต้องเข้าใจว่าคนเราจะทำทุกอย่างด้วยตัวเองไม่ได้ นั่นเพราะมันไม่ใช่สิ่งที่ท่านต้องมาเสียเวลาในสิ่งนั้นๆมากเกินไป ขอแค่พอรู้ก็พอ ส่งต่อให้ผู้มีความชำนาญในสิ่งเหล่านั้นจะดีกว่าเรื่องที่ว่าก็คือ
1.การจดทะเบียนบริษัท ในรูปแบบที่ท่านต้องการ
2.การจัดทำบัญชี มันแน่นอน เป็นเรื่องของวิชาชีพ ที่ไม่ใช่ “นักบัญชี” ก็ทำแทนไม่ได้ ดังกล่าว ท่านก็จะมีเวลาในการคิด เรื่องว่าจะขายอย่างไรให้มียอดขายเยอะๆ หรือ จะทำตลาดในส่วนไหนของโลกนี้ ตามที่ท่านต้องการและถนัดยิ่งนัก
ตามประมวลกฎหมายเพ่งและพานิชย์ อันว่าสัญญาจัดตั้งบริษัทนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่สามคน ขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทำกิจการร่วมกันด้วยประสงค์จะแบ่งปัน กำไรอันจะพึงได้แต่กิจการที่ทำนั้น ห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทเมื่อได้จดทะเบียนตามบัญญัติแห่งลักษณะนี้แล้ว จัดว่าเป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นทั้งหลายซึ่งบริษัท นั้นรวมเข้ากันเป็นหุ้นส่วนหรือบริษัทนั้น อันว่าบริษัทจำกัดนั้น คือบริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยแบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่าๆ กัน โดยมีผูถื้อหุ้น ต่างรับผิดจำกัดเพียงไม่เกินหุ้น ที่ตนถือ บุคคลซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำกัดจะรับผิดโดยไม่จำกัดก็ได้ ถ้ากรณีเป็นเช่นนั้นต้องจดแถลงความรับผิดเช่นนั้นลงไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิด้วย อันความรับผิดโดยไม่จำกัดของผู้เป็นกรรมการนั้น ย่อมถึงที่สุดเมื่อล่วงเวลาสองปีนับแต่วันที่ตัวเขาออกจากตำแหน่งกรรมการอนึ่งเงินส่งใช้ค่าหุ้น คราวแรกนั้น ต้องมิให้น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าแห่งมูลค่าของหุ้นที่ตั้งไว้
ขั้นตอนการจดทะเบียนบริษัท
ในการจัดตั้งบริษัท เริ่มจากผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ตกลงเข้ากันเพื่อกระทำกิจการร่วมกัน
1.ขั้นตอนการจองชื่อ
การจองชื่อ สามารถทำได้ 2 ทาง โดยการยื่นเอกสารกระดาษ หรือ จองชื่อทางระบบอินเทอร์เน็ต
การจองชื่อเอกสารกระดาษให้ผู้เป็นหุ้นส่วน ผู้เริ่มก่อการ หรือกรรมการ เป็นผู้ขอจองชื่อเอง หรือมอบอำนาจให้บุคคลอื่นเป็นผู้ยื่นก็ได้ โดยยื่น ณ กรมพัฒนาธุรกิจ หรือสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเขต หรือสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดแห่งใดแห่งหนึ่ง หรือส่งแบบจองชื่อนิติบุคคลทางไปรษณีย์โดย แนบซองจดหมายจ่าหน้าซอง ระบุชื่อและที่อยู่ของผู้ขอจองชื่อและผนึกดวงตราไปรษณียากรใหถู้กต้องถึงฝ่ายชื่อนิติบุคคล
การจองชื่อนิติบุคคลทางอินเทอร์เน็ตจะต้องลงทะเบียนสมาชิกและกรอกแบบ จองชื่อนิติบุคคลที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th เมื่อนายทะเบียน พิจารณาให้จองและใช้ชื่อนิติบุคคลได้ ใหผู้ข้อจองชื่อสั่งพิมพ์ (Print out) แบบแจ้ง ผลการจองชื่อนิติบุคคลเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการขอจดทะเบียน ในแบบจองชื่อนิติบุคคลสามารถจองได้คราวละไม่เกินสามชื่อ ทั้งนี้ นายทะเบียนจะพิจารณาตามลำดับ ความต้องการและอนุญาตใหจ้องชื่อได ้เพียงชื่อเดียวโดยหากนายทะเบียนตรวจสอบชื่อลำดับใดผ่านแล้วจะไม่ตรวจสอบชื่อลำดับถัดไป เมื่อนายทะเบียนพิจารณาให้จองและใชชื้่อได้แล้ว จะใชชื้่อนั้นจดทะเบียนนิติบุคคล ประเภทใดก็ได ้ แต่จะต้องใช้ยื่นขอจดทะเบียนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนพิจารณา ให้จองและใช้ชื่อได้หากวันครบกำหนดสามสิบวันเป็นวันหยุดทำการ ให้นับวันเริ่มทำการใหม่วันแรกเป็นวันครบ กำหนดสามสิบวัน
โดยสรุปสิ่งที่ต้องเตรียมในการจองชื่อ
- ชื่อที่จะใช้สำหรับทำการค้าทั้งภาษาไทยและ อังกฤษ 3 ชื่อเป็นอย่างน้อย ชื่อต้องไม่ขัดต่อแนวนโยบายแห่งรัฐ หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย
- ผู้เริ่มก่อการ 1 คนเพื่อเป็นผู้ดำเนินการเริ่มแรก โดยต้องเตรียมบัตรประชาชน
- สามารถเข้าจองชื่อ Online ได้ที่นี่ ซึ่งจะทราบผลในวันถัดไปโดยจะแจง้ ผลการจองชื่อผ่านทาง e-mail ของผูจ้องชื่อนั้น
2.ขั้นตอนการจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิและจดทะเบียนบริษัทพร้อมกันภายในวันเดียวกัน
การขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิและ จดทะเบียนบริษัท พร้อมกันภายใน วันเดียวกันให้จัดทําเป็นคําขอเดียวโดยให้กรรมการผู้มีอํานาจทําการแทนบริษัทลงลายมือชื่อเป็นผู้ขอ จดทะเบียน การประชุมจัดตั้งบริษัทตามมาตรา ๑๑๑๑/๑ (๒) จะต้องมีผู้เริ่มก่อการและ ผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นทุกคนเข้าร่วมประชุมนับจํานวนหุ้นได้ครบตามจํานวนหุ้นทั้งหมดของบริษัท และผู้เข้าชื่อ ซื้อหุ้นทุกคนจะต้องให้ความเห็นชอบในกิจการที่ได้ประชุมกันนั้น ในการจัดตั้งบริษัท ที่ได้ดําเนินการถูกต้องและครบทุกขั้นตอนภายในวันเดียวกับ วันที่ผู้เริ่มก่อการจัดทําหนังสือบริคณห์สนธิ จะต้องยื่นคําขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ และจดทะเบียนบริษัทพร้อมกันภายในวันเดียวกัน และให้นายทะเบียนเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ทั้งสองประเภทการ จดทะเบียนตามอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง เมื่อนายทะเบียนรับจดทะเบียนแล้วให้ออกเลขทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิและเลขทะเบียน บริษัทจํากัด การขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิและ จดทะเบียนบริษัท พร้อมกันภายใน วันเดียวกันสามารถยื่นขอจดทะเบียนได้นับตั้งแต่ได้ดําเนินการถูกต้องครบทุกขั้นตอนตามมาตรา๑๑๑๑/๑
หนังสือบริคณห์สนธินั้น ต้องมีรายการดั่งต่อไปนี้ คือ
- ชื่อบริษัทอันคิดจะตั้งขึ้น ซึ่งต้องมีคำว่า “จำกัด” ไว้ปลายชื่อนั้นด้วยเสมอไป
- จำนวนหุ้นทั้งสิ้นซึ่งได้มีผู้เข้าชื่อซื้อ หรือได้จัดออกให้แล้ว แยกให้ปรากฏว่า เป็นชนิดหุ้นสามัญเท่าใด หุ้นบุริมสิทธิเท่าใด
- จำนวนหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ ซึ่งออกให้เหมือนหนึ่งว่าได้ใช้เต็มค่าแล้วหรือได้ใช้แต่บางส่วนแล้ว นอกจากที่ใช้เป็นตัวเงิน และหุ้นที่ได้ใช้แต่บางส่วนนั้น ให้บอกว่าได้ใช้แล้วเพียงใด
- วัตถุที่ประสงค์ทั้งหลายของบริษัท
- ถ้อยคำสำแดงว่า ความรับผิดของผู้ถือหุ้นจะมีจำกัด
- ชื่อ สำนัก อาชีวะ และลายมือชื่อของบรรดาผู้เริ่มก่อการ ทั้งจำนวนหุ้นซึ่งต่างคนต่างเข้าชื่อซื้อไว้คนละเท่าใด
***หมายเหตุเรื่องหุ้น
ส่วนหุ้นสามัญ (Common Stocks) หรือ ที่บางคนเรียกว่า หุ้นทุน คือ ตราสารทุนที่บอกถึงความมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของในบริษัท ซึ่งออกโดย บริษัทมหาชนจำกัด ที่ต้องการระดมเงินทุนจากประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของในธุรกิจนั้นๆ โดยตรง เช่น การมีสิทธิเข้าประชุมและ ลงคะแนนเสียงในที่ประชุม มีสิทธิร่วมตัดสินในปัญหาสำคัญในที่ประชุมผู้ถือหุ้นคะ โดยผลตอบแทนที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญจะได้โดยตรงก็คือ เงินปันผลจากกำไรในธุรกิจตามอัตราที่ที่ประชุมใหญ่กำหนด ซึ่งไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานของบริษัท และอาจไม่มีการจ่ายเงินปันผลเลยก็ได้
หุ้นบุริมสิทธิ คือ หุ้นที่มีสิทธิเหนือกว่าหุ้นทั่วไป (หุ้นสามัญ) และสามารถได้เงินปันผลแม้ในตอนที่บริษัทมีกำไรน้อยนิด” โดยหากกิจการขาดทุนทั้ง
“บริษัทจำกัดหุ้นบุริมสิทธิจะไม่มีสิทธิออกเสียงเลย” แต่ “บริษัทมหาชนทำได้…แต่มักพบว่าจะมีการลดทอนอำนาจในการลงคะแนนเสียง” เพื่อเป็นการป้องกันการเสียอำนาจในการบริหารของทางเจ้าของเอง
- **บริษัทจะออกหุ้นกู้ไม่ได้
- **อันมูลค่าของหุ้นๆ หนึ่งนั้น มิให้ต่ำกว่าห้าบาท
- **ในการใช้เงินเป็นค่าหุ้นนั้น ผู้ถือหุ้นจะหักหนี้กับบริษัทหาได้ไม่
โดยสรุปสิ่งที่ต้องเตรียมในการ จดทะเบียนบริษัท
- ใบจองชื่อที่ผ่านการอนุมัติจากนายทะเบียน
- วัตถุประสงค์ ในการทำธุรกิจ
- สำเนาบัตรประชาชนของผู้ถือหุ้นทุกคน ซึ่งต้องแสดงรูปบัตรที่ชัดเจน
- กำหนดทุนจดทะเบียน และสัดส่วนหุ้นที่ถือของแต่ละคน
- ชื่อ ที่อยู่ อายุ สัญชาติ ของพยาน 2 คน
- ทะเบียนบ้าน ที่ตั้งสำนักงาน พร้อมแผนที่
- ตรายางบริษัท ที่มีชื่อถูกต้องตรงตามที่ขอ จดทะเบียนบริษัท
เอกสารประกอบคำขอจดทะเบียน แนบท้ายระเบียบสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลาง ว่าด้วยการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท พ.ศ. 2554
**ยื่นแบบจดทะเบียนที่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ซึ่งมีบริการอยู่ 8 แห่ง ทั่วกรุงเทพฯ ใช้เวลาประมาณ 1 วัน
***หมายเหตุ
นายทะเบียนจะรับจดทะเบียนผู้เยาว์เข้าเป็นหุ้นส่วน ผู้เริ่มก่อการ กรรมการ หรือ ผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทได้ เมื่อปรากฏว่า
- ผู้เยาว์มีอายุไม่น้อยกว่าสิบสองปี
- ผู้เยาว์ได้ลงลายมือชื่อในคำขอจดทะเบียน หรือเอกสารประกอบด้วยตนเองในกรณีผู้เยาว์เข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนโดยการรับมรดกให้นายทะเบียนรับจดทะเบียน เมื่อปรากฏว่า
- (๒.๑) ผู้เยาว์ได้ลงลายมือชื่อในคำขอจดทะเบียน หรือเอกสารประกอบด้วยตนเอง หรือ
- (๒.๒) ผู้เยาว์ที่มีอายุต่ำกว่าสิบสองปีโดยมีผู้แทนโดยชอบธรรมลงลายมือชื่อแทนในคำขอจดทะเบียน หรือเอกสารประกอบ
บริการอื่นเกี่ยวกับบริษัท ได้แก่
- มติพิเศษให้เพิ่มทุน/ลดทุน/ควบบริษัท
- แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิภายหลังจัดตั้งบริษัท
- ตั้งข้อบังคับใหม่ หรือแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ
- เพิ่มทุน ลดทุน
กรรการ แก้ไขเพิ่มเติม
- **จำนวนหรือชื่อกรรมการลงชื่อผูกพันบริษัท
- **ที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ และ / หรือสำนักงานสาขา
- **ตราของบริษัท
- **รายการอย่งอื่นซึ่งเห็นสมควรให้ประชาชนทราบ
- **เลิกบริษัท
แก้ไขเพิ่มเติม
- **อำนาจของผู้ชำระบัญชี
- **ที่ตั้งสำนักงานของผู้ชำระบัญชี
- **ตั้ง / เปลี่ยนตัวผู้ชำระบัญชี
- **เสร็จการชำระบัญชีบริษัท
ติดต่อสอบถามเกี่ยวกับการ จดทะเบียนบริษัท จัดตั้งบริษัทใหม่ ได้ที่ โทรศัพท์ : 02-0543332 หรือ มือถือ : 085-801-2332 หรือสอบถามทาง Email 24 ชม. pitipoom99@gmail.com
รับจดทะเบียนบริษัทภาคเหนือ 9 จังหวัด
#จดทะเบียนบริษัทเชียงราย #จดทะเบียนบริษัทเชียงใหม่ #จดทะเบียนบริษัทน่าน #จดทะเบียนบริษัทพะเยา #จดทะเบียนบริษัทแพร่ #จดทะเบียนบริษัทแม่ฮ่องสอน #จดทะเบียนบริษัทลำปาง #จดทะเบียนบริษัทลำพูน #จดทะเบียนบริษัทอุตรดิษถ์
รับจดทะเบียนบริษัทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด
#จดทะเบียนบริษัทกาฬสินธุ์ #จดทะเบียนบริษัทขอนแก่น #จดทะเบียนบริษัทชัยภูมิ #จดทะเบียนบริษัทนครพนม #จดทะเบียนบริษัทนครราชสีมา #จดทะเบียนบริษัทบึงกาฬ #จดทะเบียนบริษัทบุรีรัมย์ #จดทะเบียนบริษัทมหาสารคาม #จดทะเบียนบริษัทมุกดาหาร #จดทะเบียนบริษัทยโสธร #จดทะเบียนบริษัทโคราช #จดทะเบียนบริษัทร้อยเอ็ด #จดทะเบียนบริษัทสกลนคร #จดทะเบียนบริษัทสุรินทร์ #จดทะเบียนบริษัทศรีษะเกษ #จดทะเบียนบริษัทหนองคาย #จดทะเบียนบริษัทหนองบัวลำภู #จดทะเบียนบริษัทอุดรธานี #จดทะเบียนบริษัทอุบลราชธานี #จดทะเบียนบริษัทอำนาจเจริญ
รับจดทะเบียนบริษัทภาคกลาง 21 จังหวัด
#จดทะเบียนบริษัทกำแพงเพชร #จดทะเบียนบริษัทชัยนาท #จดทะเบียนบริษัทนครนายก #จดทะเบียนบริษัทนครปฐม #จดทะเบียนบริษัทนครสวรรค์ #จดทะเบียนบริษัทนนทบุรี #จดทะเบียนบริษัทปทุมธานี #จดทะเบียนบริษัทพระนครศรีอยุธยา #จดทะเบียนบริษัทพิจิตร #จดทะเบียนบริษัทพิษณุโลก #จดทะเบียนบริษัทเพชรบูรณ์ #จดทะเบียนบริษัทลพบุรี #จดทะเบียนบริษัทสมุทรปราการ #จดทะเบียนบริษัทสมุทรสงคราม #จดทะเบียนบริษัทสมุทรสาคร #จดทะเบียนบริษัทสิงห์บุรี #จดทะเบียนบริษัทสุโขทัย #จดทะเบียนบริษัทสุพรรณบุรี #จดทะเบียนบริษัทสระบุรี #จดทะเบียนบริษัทอ่างทอง #จดทะเบียนบริษัทอุทัยธานี
รับจดทะเบียนบริษัทภาคตะวันออก 7 จังหวัด
#จดทะเบียนบริษัทจันทบุรี #จดทะเบียนบริษัทฉะเชิงเทรา #จดทะเบียนบริษัทชลบุรี #จดทะเบียนบริษัทตราด #จดทะเบียนบริษัทปราจีนบุรี #จดทะเบียนบริษัทระยอง #จดทะเบียนบริษัทสระแก้ว
รับจดทะเบียนบริษัทภาคตะวันตก 5 จังหวัด
#จดทะเบียนบริษัทตาก #จดทะเบียนบริษัทประจวบคีรีขันธ์ #จดทะเบียนบริษัทเพชรบุรี #จดทะเบียนบริษัทราชบุรี
รับจดทะเบียนบริษัทภาคใต้ 14 จังหวัด
#จดทะเบียนบริษัทกระบี่ #จดทะเบียนบริษัทชุมพร #จดทะเบียนบริษัทตรัง #จดทะเบียนบริษัทนครศรีธรรมราช #จดทะเบียนบริษัทนราธิวาส #จดทะเบียนบริษัทปัตตานี #จดทะเบียนบริษัทพังงา #จดทะเบียนบริษัทพัทลุง #จดทะเบียนบริษัทภูเก็ต #จดทะเบียนบริษัทระนอง #จดเบียนบริษัทสตูล #จดทะเบียนสงขลา #จดทะเบียนบริษัทสุราษฎร์ธานี #จดทะเบียนบริษัทยะลา
รับจดทะเบียนบริษัท 50 เขตในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
#จดทะเบียนบริษัทเขตพระนคร #จดทะเบียนบริษัทเขตดุสิต #จดทะเบียนบริษัทเขตหนองจอก #จดทะเบียนบริษัทเขตบางรัก #จดทะเบียนบริษัทเขตางเขน #จดทะเบียนบริษัทเขตบางกะปิ #จดทะเบียนบริษัทเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย #จดทะเบียนบริษัทเขตพระโขนง #จดทะเบียนบริษัทเขตมีนบุรี #จดทะเบียนบริษัทเขตลาดกระบัง #จดทะเบียนบริษัทเขตยานนาวา #จดทะเบียนบริษัทเขตสัมพันธวงศ์ #จดทะเบียนบริษัทเขตพญาไท #จดทะเบียนบริษัทเขตธนบุรี #จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกใหญ่ #จดทะเบียนบริษัทเขตห้วยขวาง #จดทะเบียนบริษัทเขตคลองสาน #จดทะเบียนบริษัทเขตตลิ่งชัน #จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกน้อย #จดทะเบียนบริษัทเขตบางขุนเทียน #จดทะเบียนบริษัทเขตภาษีเจริญ #จดทะเบียนบริษัทเขตหนองแขม #จดทะเบียนบริษัทเขตราษฎร์บูรณะ #จดทะเบียนบริษัทเขตบางพลัด #จดทะเบียนบริษัทเขตดินแดง #จดทะเบียนบริษัทเขตบึงกุ่ม #จดทะเบียนบริษัทเขตสาทร #จดทะเบียนบริษัทเขตบางซื่อ #จดทะเบียนบริษัทเขตจตุจักร #จดทะเบียนบริษัทเขตบางคอแหลม #จดทะเบียนบริษัทเขตประเวศ #จดทะเบียนบริษัทเขตคลองเตย #จดทะเบียนบริษัทเขตสวนหลวง #จดทะเบียนบริษัทเขตจองทอง #จดทะเบียนบริษัทเขตดอนเมือง #จดทะเบียนบริษัทเขตราชเทวี #จดทะเบียนบริษัทเขตลาดพร้าว #จดทะเบียนบริษัทเขตวัฒนา #จดทะเบียนบริษัทเขตบางแค #จดทะเบียนบริษัทเขตหลักสี่ #จดทะเบียนบริษัทเขตสายไหม #จดทะเบียนบริษัทเขตคันนายาว #จดทะเบียนบริษัทเขตสะพานสูง #จดทะเบียนบริษัทเขตวังทองหลาง #จดทะเบียนบริษัทเขตคลองสามวา #จดทะเบียนบริษัทเขตบางนา #จดทะเบียนบริษัทเขตทวีวัฒนา #จดทะเบียนบริษัทเขตทุ่งครุ #จดทะเบียนบริษัทเขตบางบอน